Skip to main content

Posts

Showing posts from March, 2014

หลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนนานาชาติในประเทศไทย ณ ปัจจุบัน

ปัจจุบันคุณพ่อคุณแม่หลายท่านที่ส่งลูกเข้าโรงเรียนนานาชาติมักจะได้ยินชื่อระบบการศึกษาแบบใหม่ที่เรียกว่า IB หลายท่านยังคงสงสัยถึง ความแตกต่างระหว่างการเรียนในระบบ IB และ การเรียนในระบบ IGCSE ว่ามีข้อดีและข้อด้อยแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ดังนั้นผู้ปกครองจึงควรทำความเข้าใจถึงความแตกต่างของ 2 ระบบนี้ เพื่อเป็นการวางแผนทางการศึกษาของบุตรหลานของท่านอย่างเหมาะสม ระบบ IB (the International Baccalaureate) เป็นหลักสูตรใหม่ที่ร่างระบบโดยนักวิชาการจากศูนย์การส่งเสริมการศึกษานานาชาติที่เมืองเจนีวา ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หลักสูตรดังกล่าวเป็นหลักสูตรเข้มข้นที่เตรียมความพร้อมในการเข้าต่อมหาวิทยาลัยในทุกประเทศ ซึ่งประกอบไปด้วย 6วิชาหลักดังนี้ ภาษาอังกฤษ, วิทยาศาสตร์เชิงทดลอง, ศิลปะ, คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์, นอกจากนั้นนักเรียนจะต้องทำกิจกรรมอาสาพัฒนาชุมชน กิจกรรมกีฬา และสร้างสรรค์ทางศิลปะอีกด้วย ซึ่งหลักสูตรนี้จะไม่มุ่งเน้นสาขาฉะเพราะทาง นักเรียนจะต้องเรียนในทุกวิชาที่กำหนดมา ซึ่งมักจะเกินกว่าความต้องการของสาขาวิชาที่นักเรียนต้องเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย เพราะฉะนั้นระบบ IB จึงเหมาะกับนั

แนะนำ ศิษย์เก่า โรงเรียนนานาชาติฮีทฟิลด์

                                                         "Julie" จูลี่แนะนำตัวเองหน่อยค่ะ         ชื่อ น . ส . ภรมน ฉิมตะวัน ชื่อเล่นว่า จูลี่ ค่ะ ปัจจุบันเป็นนิสิตชั้นปีที่ 4 คณะวิทยาศาสตร์ สาขาเคมีประยุกต์ ( อินเตอร์ ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกำลังจะเป็นบัณฑิตในอีก 4 เดือนข้างหน้าค่ะ          จูลี่เรียนที่โรงเรียนนานาชาติฮีทฟิลด์จนถึงระดับชั้นไหนคะ จูลี่เป็นนักเรียน รุ่น 30 คนแรกของโรงเรียน Heathfield ค่ะ ตอนที่สอบ IGCSE เลือกสอบกี่วิชา แล้วมีวิธีการเตรียมตัวอย่างไร จูลี่สอบผ่าน IGCSE 6 วิชารอบเดียวค่ะ เพราะจูลี่ตอนนั้นมีเวลาเตรียมตัวน้อยเลยต้องสอบรอบเดียวให้ครบ วิธีเตรียมตัวของจูลี่อย่างแรกก็คือต้องตั้งเป้าหมายก่อนค่ะ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ และ เมื่อเรารู้ว่าเราจะเข้ามหาลัยเมื่อไหร่ คณะอะไร เราก็จะได้ตั้งแผนการเรียนและระยะเวลาของเราได้ค่ะ ต่อจากนั้นก็คงเป็นขั้นตอนจำศีลอ่านหนังสือค่ะ  จูลี่ใช้เวลาในการอ่านหนังสือ ( แบบจริงจัง ) เป็นเวลาประมาณ 3-4 เดือนในการสอบค่ะ จูลี่ว่าสิ่งที่สำคัญคือต้องมีวินัยกับตัวเอง ห้ามผลัดวันประกันพรุ่

ระบบ การศึกษาในเครือจักรภพอังกฤษ

แบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา และระดับปริญญา การศึกษาภาคบังคับเริ่มตั้งแต่อายุ 5 ปีถึง 16 ปี เด็กนักเรียนส่วนใหญ่ จะเรียนในโรงเรียนรัฐบาล สำหรับนักเรียนไทยที่จะไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ นักเรียนจะมีสิทธิเลือกเข้าเรียนในโรงเรียนของเอกชนเท่านั้น   ปีการศึกษา ภาคต้น ( Autumn Term) เริ่มปลายเดือนกันยายนถึงกลางเดือนธันวาคม ภาคกลาง ( Spring Term) เริ่มกลางเดือนมกราคมถึงปลายเดือนมีนาคม ภาคปลาย ( Summer Term) เริ่มปลายเดือนเมษายนถึงต้นเดือนกรกฎาคม ระดับมัธยมศึกษา     (Public School)   รับนักเรียนอายุ 13 ปีขึ้นไป และเรียน ได้จนถึงอายุ 18 - 19 ปี รวมระยะเวลาศึกษา 5 ปี โรงเรียนมัธยมของเอกชนเท่านั้น นักเรียนทุกคนจะต้องทำการสอบวัดผลความรู้ และความสามารถเพื่อจะนำไปใช้ในการ สมัครเข้าในระดับอุดมศึกษาต่อไป ทั้งนี้ทางกระทรวงศึกษาธิการ และวิทยาศาสตร์ของอังกฤษเป็นผู้กำหนด โดยการสอบจะจัดโดยคณะกรรมาธิการอิสระซึ่งมี 5 คณะ โดยการสอบจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. GCSE   (General Certific